วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

การบีบและเก็บน้ำนม



การบีบและเก็บน้ำนม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การบีบและเก็บน้ำนม


1. บีบนมเก็บในภาชนะสะอาด มีฝาปิดมิดชิด อาจเป็นแก้ว หรือพลาสติกแข็งซึ่งสามารถ ต้มในน้้าเดือดเพื่อฆ่าเชื้อโรคได้ ไม่ควรใช้ ภาชนะโลหะ เนื่องจาก Wbc จะเกาะ ท้าให้ ได้ภูมิต้านทานจากน้้านมลดลง
2. แบ่งเก็บในปริมาณที่ลูกต้องการแต่ละมื้อ
3. ปิดภาชนะให้มิดชิด บันทึกวันที่ เวลาที่เก็บ ไว้ข้างภาชนะ
4. แช่ตู้เย็นทีนทีในบริเณที่้เย็นที่สุด อย่าเก็บที่ประตูตู้เย็น เนื่องจากความเย็นจะไม่คงที่
5. นมที่ยังไม่ใช้ใน 2 วันควรเก็บในช่องแช่แข็ง
6. นมที่ละลายหลังแช่แข็งแล้วไม่ควรนำไปแช่แข็งอีก
7. การเก็บในที่ทำงาน ถ้าไม่มีตู้เย็นให้เก็บในกระติกน้ำแข็งที่มีน้ำแข็งตลอดเวลา



การบีบนมด้วยมือ

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

วิธีบีบนมด้วยมือ
-วางนิ้วหัวแม่มือ และ นิ้วชี้ที่ท้าเป็นรูปตัวซี ประมาณ 2.5 - 4.0 ซม หลังหัวนม โดยปลายนิ้วหัวแม่มืออยู่เหนือห้วนนม และปลายนิ้วชี้อยู่ใต้หัวนม
-ดันปลายนิ้วทั้งสองนิ้วเข้าหาหน้าอก
-กดปลายนิ้วทั้งสองนิ้วเข้าหากัน
-กดบีบซ้้าๆ 2-3 ครั้ง แล้วค่อยๆเลื่อนต้าแหน่งจนรอบลาน นม




เคล็ดลับการบีบนม
-ต้องช่วยมารดาวางแผนการบีบนม
-ไม่ควรเข้มงวดการบีบนมทุก 3-4 ชั้วโมง แต่ไม่ควรเว้นนานเกินไป
-ถ้าเป็นไปได้ควรบีบ 4 ครั้งช่วงกลางวัน และ 6 ครั้งช่วงกลางคืน
-เน้นการบีบนมกลางคืนตามการหลั่ง ฮอร์โมนที่สูงขึ้น


อ้างอิง :
 -รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงกุสุมา ชูศิลป์ (2558)ภาควิชากุมารเวชศาสตร ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Breastfeeding Promotion
http://www.amno.moph.go.th/amno_new/attachments/3902_Breastfeeding%20Promotion%2019022558.pdf
-https://www.enfababy.com/
-https://youtu.be/APiWW86UB1M













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การบีบและเก็บน้ำนม

การบีบและเก็บน้ำนม 1. บีบนมเก็บในภาชนะสะอาด มีฝาปิดมิดชิด อาจเป็นแก้ว หรือพลาสติกแข็งซึ่งสามารถ ต้มในน้้าเดือดเพื่อฆ่าเชื้อโร...